Details, Fiction and ไชน่าทาวน์ชะช่า

Your browser isn’t supported any longer. Update it to obtain the very best YouTube experience and our hottest characteristics. Find out more

โดยรวมแล้ว ไชน่าทาวน์ ชะช่า เป็นภาพยนตร์แอ็กชันคอเมดี้ที่มีองค์ประกอบที่น่าสนใจอยู่พอสมควร โดยเฉพาะการออกแบบฉากแอ็กชันเข้ากับความตลกขบขันที่ดูพอสนุก แต่ข้อสังเกตสำคัญเห็นจะเป็นการเล่าเรื่องที่ดูครึ่งๆ กลางๆ ไม่ได้ลงลึกกับประเด็นใดประเด็นหนึ่ง รวมถึงการพยายามขยี้มุกจนดูยืดเยื้อเกินไป จนทำให้ภาพรวมของเรื่องยังไม่กลมกล่อมมากนัก 

ส่วนพาร์ททางด้านการแสดงนั้น ถึงตัวหนังเรื่องนี้จะชูโรงความโดดเด่นให้ "อาเล็ก ธีรเดช" กับ "มิ้นท์ รัญชน์รวี" เป็นคู่พระนางตัวนำ แต่น่าเสียดายที่รูปร่างและการดีไซน์บทบาทของพวกเขาในหนังเรื่องนี้ค่อนข้างไร้เสน่ห์ แทบจะไม่สามารถขับตัวละครของพวกเขาออกมาได้ นอกจากจะเป็นเพียงการแสดงสวมบทบาทนั้น ๆ ในจบไป

เรื่องราวเริ่มต้นขึ้นเมื่อ กี้ (มิ้นท์-รัญชน์รวี เอื้อกูลวราวัตร) สาวหมวยที่ชีวิตต้องเจอกับความซวยตั้งแต่เด็กๆ ซึ่งมีต้นเหตุมาจาก อาคุ้ง (อาเล็ก-ธีรเดช เมธาวรายุทธ) เหล่าก๋งของเธอที่เคยเป็นหัวหน้าแก๊งพรรคกระทิงซู่ที่สร้างความเดือดร้อนไปทั่ว จนถูกผู้คนสาปแช่งให้ลูกหลานต้องพบเจอแต่ความซวย กี้จึงต้องจ้างวานให้ เซียนแปะ (จิ้ม ชวนชื่น) ช่วยทำพิธีล้างซวย 

กล่าวคือภาพยนตร์ค่อนข้างมีเส้นเรื่องที่อยากนำเสนออยู่หลายเรื่องพอสมควร ทั้งเส้นเรื่องหลักของกี้ที่จู่ๆ ก็ย้อนเวลากลับมาเจอบรรพบุรุษของตัวเอง จนต้องเข้าไปพัวพันกับความขัดแย้งระหว่างพรรคกระทิงซู่และพรรคกิเลนซิ่ง ขณะเดียวกันก็มีเรื่องมิตรภาพของอาคุ้งและอาไถ่ ปมปัญหาของอาคุ้งและครอบครัว ไปจนถึงเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างอาคุ้งและเหล่าม่า 

ซึ่งแม้ว่าทั้งหมดนี้จะเป็นเรื่องราวที่น่าสนใจ แต่ดูเหมือนว่าทีมสร้างจะไม่ได้พาเข้าไปลงลึกเกี่ยวกับประเด็นใดประเด็นหนึ่งมากนัก จึงส่งผลให้ประเด็นเหล่านี้ถูกนำเสนอแบบผิวเผิน โดยเฉพาะเรื่องราวการแก้ไขอดีตและหาทางกลับบ้านของกี้ที่ภาพยนตร์ไม่ได้เผยให้เราเห็น ‘วิธีการ’ ในการแก้ไขปัญหาหรือการเปลี่ยนแปลงของตัวละครเท่าไรนัก อีกทั้งเมื่อภาพยนตร์ดำเนินมาถึงองก์สุดท้าย ทีมสร้างก็เลือกที่จะคลี่คลายปมปัญหาด้วยวิธีที่เรียบง่ายและรวดเร็ว จนทำให้เราไม่รู้สึกผูกพันหรือมีความรู้สึกร่วมไปกับตัวละครใดตัวละครหนึ่งเท่าที่ควร ไปจนถึงส่งผลให้ประเด็นที่ภาพยนตร์ต้องการนำเสนอไม่เฉียบคม

ขณะเดียวกัน สิ่งที่น่าสนใจของ ไชน่าทาวน์ ชะช่า เห็นจะเป็นพล็อตเรื่องที่ว่าด้วยเรื่องราวการย้อนเวลาเพื่อแก้ไขอดีต ที่แม้พล็อตดังกล่าวจะไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่มันก็มีลูกเล่นมากมายให้ผู้สร้างสามารถหยิบมาปรุงแต่งเรื่องราวได้หลากหลายวิธีเช่นกัน บวกกับประเด็นหลักของเรื่องที่เล่าถึงลูกๆ ที่ถูกครอบครัวตั้ง ‘ความคาดหวัง’ ให้ต้องเป็นหัวหน้าครอบครัวหรือสืบทอดกิจการ ก็เป็นอีกหนึ่งประเด็นที่น่าสนใจไม่แพ้กัน 

You ไชน่าทาวน์ชะช่า might be employing a browser that won't supported by Fb, so we have redirected you to definitely an easier Variation to give you the best encounter.

องค์ประกอบงานสร้างของ ไชน่าทาวน์ ชะช่า ก็เป็นไปตามทุนที่ได้เลย โปรดักชันของหนังก็ไม่ได้ยิ่งใหญ่อะไรสักเท่าไหร่ หนังมีความพีเรียดปะปนอยู่ แต่การสร้างแวดล้อมและฉากต่าง ๆ นั้นก็ยังดูไม่ค่อยสมจริงและกลมกลืนมากนัก แบบว่าพอถูไถไปได้ การทำบรรยากาศโดยรวมออกมายังไม่ค่อยมีมนต์ขลัง ซึ่งก็พยายามจะทำเป็นมองไม่เห็นและผ่าน ๆ ไปเช่นกัน

รีวิวหนัง "ไชน่าทาวน์ ชะช่า" มะรุมมะตุ้มทะลุมิติสู่ยุคอั้งยี่ ขำขันแบบตลกคาเฟ่

การย้อนอดีตทําให้กี้ได้รู้จักผู้คนที่เชื่อมโยงและนําไปสู่ความซวยของกี้ ด้วยกันทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็น “ตง” ไอ้หนุ่มเลือดร้อน, “ซู้เฮียง” นางโลมสุดเซ็กซี่ประจําซ่องที่กิ๊กกั๊กกับคุ้ง และ “เคี้ยง” น้องชายสุดที่รักของคุ้ง ไม่เพียงเท่านั้น แถมยังมี “เล่า”/“กวน”/“เตียว” สามผู้เฒ่าขาใหญ่ประจําพรรคที่ดูน่าเกรงขามปนเลอะเทอะ แต่คนที่กี้เจอแล้วทําให้เกิดความมึนงงสับสนมากที่สุดก็คือ “จิงจู” ผู้เป็นเหล่ามาของกี้ที่หน้าตาละม้ายคล้ายเธอ ในเมื่อกี้หาทางกลับไปยังโลกปัจจุบันไม่ได้ เธอจึงหันมาหาทางแก้ไขอดีต เพื่อไม่ให้เกิดคําสาปและความซวยกับครอบครัวเธอในอนาคตแทนแต่ใช่ว่าเรื่องที่กี้คิดทํานั้น จะง่ายราวปอกกล้วย ในเมื่อสถานการณ์กําลังไปสู่จุดหายนะอย่างเห็นได้ชัด เธอจะสามารถแก้ไขอดีตได้หรือเปล่า?

เปิดรายชื่อคณะกรรมการตำรวจฯ ชี้ชะตา ‘พล.ต.อ. สุรเชษฐ์’ พ้นราชการตำรวจ

การสร้างแบรนด์ฟุตบอลผ่านทีมชาติออสเตรียของ ราล์ฟ รังนิก

ก่อนจะเริ่มละเลงรีวิว...ต้องขอสูดลมหายใจลึก ๆ สักฟอด เพราะการคัมแบ็กงานกำกับอีกหนในครั้งนี้ของลุงรงค์ ถือว่ายังคงรักษามาตรฐานความเป็นนักสร้างหนังของเขาไว้อย่างเสมอต้นเสมอปลาย เทคนิคและจังหวะการหยอดมุก สร้างอารมณ์ให้กับคนดูยังแพรวพราวไม่มีเปลี่ยน เพียงแต่ว่ายุคสมัยที่เปลี่ยนไปเป็นสิบ ๆ ปีแล้ว ต้องยอมรับว่าบางโทนและบางลีลาของลุงรงค์ก็ค่อนข้างจะตกยุคไปประมาณหนึ่งแล้วเช่นกัน

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *